รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ จังหวัดนนทบุรี
“จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” “จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี 94 95 หน่วยงาน ส� ำนักงานจังหวัดนนทบุรี เป้าหมาย 1. เชิงปริมาณ บุคลากรภาครัฐในจังหวัดนนทบุรีเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมวิทยากรเพื่อท� ำหน้าที่ผู้ถ่ายทอดความรู้เกี่ยว กับประวัติศาสตร์ชาติไทยจังหวัดนนทบุรี (ข้าราชการและบุคลากรในสังกัดกระทรวงมหาดไทย บุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ จิตอาสา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง) จ� ำนวน 150 คน 2. เชิงคุณภาพ บุคลากรภาครัฐในจังหวัดนนทบุรีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และสามารถ ถ่ายทอดความรู้ดังกล่าวให้กับประชาชนทั่วไปและนักเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับบุคลากรภาครัฐและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดนนทบุรีเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ชาติไทย 2. เพื่อให้บุคลากรภาครัฐและบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัดนนทบุรีสามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ชาติไทยให้กับประชาชนทั่วไปและนักเรียนได้ กิจกรรม หัวข้อประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยวิทยากรจิตอาสา ในวันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม 2567 ณ โรงแรม Grand Richmond Hotel ฝึกอบรมวิทยากรเพื่อท� ำหน้าที่ผู้ถ่ายทอดความรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยจังหวัดนนทบุรี โครงการ การด� ำเนินการ 1. ฝึกอบรมวิทยากรเพื่อท� ำหน้าที่ผู้ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทยจังหวัดนนทบุรีให้กับบุคลากร ภาครัฐในจังหวัดนนทบุรี จ� ำนวน 150 คน 2. บุคลากรภาครัฐในจังหวัดนนทบุรีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และสามารถถ่ายทอดความรู้ ดังกล่าวให้กับประชาชนทั่วไปและนักเรียนได้ หน่วยงาน ส� ำนักงานจังหวัดนนทบุรี หลักการและเหตุผล คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2567 เห็นชอบแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ พ.ศ. 2566 – 2570 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาองค์กร สนับสนุนการเรียนรู้ และการพัฒนาทรัพยากรบุคคลได้อย่างเป็น ระบบ ควบคู่กับมาตรการบริหารจัดการก� ำลังคนภาครัฐ (พ.ศ. 2566 - 2570) และแนวทางปฏิบัติ ซึ่งมุ่งเน้นการบริหารก� ำลัง คนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้และทักษะอันส่งผลให้ภาครัฐมีประสิทธิภาพสูงขึ้น สามารถตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชนอย่างมีคุณภาพ โดยหนึ่งทักษะส� ำคัญของบุคลากรภาครัฐ คือ การเขียนหนังสือราชการ ซึ่งเป็นเครื่อง มือในการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานรัฐด้วยกัน หน่วยงานรัฐและหน่วยงานภายนอก และหน่วยงานรัฐกับประชาชน โดย บุคลากรจ� ำเป็นต้องมีความรู้ด้านงานสารบรรณ การสรุปใจความส� ำคัญของสิ่งที่ต้องการสื่อสาร และการเลือกใช้ถ้อยค� ำให้ สละสลวยเหมาะสมกับสถานการณ์เพื่อให้การสื่อสารเป็นไปอย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างไรก็ดี ปัจจุบัน ภาครัฐมีการเปิดรับสมัครบุคลากรใหม่เข้ามาปฏิบัติงานเป็นจ� ำนวนมาก บุคลากรบางส่วนอาจไม่มี ความรู้หรือความเข้าใจในงานสารบรรณ ส่งผลให้การบริหารงานเอกสารทางราชการไม่ถูกต้องตามระเบียบที่ก� ำหนด และ เกิดปัญหาอุปสรรคในการติดต่อ ผ่านหนังสือราชการที่ไม่มีความชัดเจน ส่งผลให้เกิดข้อจ� ำกัดในการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ นอกจากนี้ ในปัจจุบันได้มีการน� ำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในงานสารบรรณมากขึ้น แต่บุคลากรบางส่วนอาจยังไม่มีความเข้าใจ ในการปฏิบัติ ท� ำให้ยังให้คงใช้การด� ำเนินงานสารบรรณรูปแบบเดิม และไม่สามารถใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ตาม ความสามารถของระบบ เป้าหมาย พัฒนาบุคลกรให้มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนหนังสือราชการโดยสามารถใช้ภาษาในการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม อันจะส่งผลให้การปฏิบัติงานเป็นอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับบุคลากรภาครัฐในจังหวัดนนทบุรีเกี่ยวกับงานสารบรรณ และการเขียนหนังสือ ราชการ 2. เพื่อให้บุคลากรของรัฐในจังหวัดนนทบุรีมีทักษะเขียนหนังสือราชการที่ถูกต้อง และชัดเจน 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อราชการระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันเองและระหว่าง หน่วยงานภาครัฐกับหน่วยงานภายนอก เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการเขียนหนังสือราชการ ของบุคลากรภาครัฐ ในจังหวัดนนทบุรีให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ โครงการ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy