รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ จังหวัดนนทบุรี

“จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” “จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี 8 9 ในปี 2567 จังหวัดนนทบุรี ได้ขับเคลื่อนแนวทางการปฏิบัติราชการ “นนทบุรี 6 ดี สู่เมืองน่าอยู่” ในด้านเศรษฐกิจดี ที่มีความส� ำคัญ ดังนี้ 1. การส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็ง 1.1การส่งเสริมผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งเงินทุน จังหวัดนนทบุรี โดยส� ำนักงานคลังจังหวัดนนทบุรี ได้ส่งเสริมผู้ประกอบการให้เข้าถึงแหล่งทุน โดยบูรณาการ ร่วมกับสถาบันการเงินต่าง ๆ และให้การส่งเสริมด้านการตลาด ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาสินค้าและบริการ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 มีผลการด� ำเนินงาน ดังนี้ (1)ธนาคารกรุงไทย - อนุมัติสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ จ� ำนวน 12 ราย วงเงินสินเชื่อ 39.39 ล้านบาท (2)ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - อนุมัติสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ จ� ำนวน 1,153 ราย วงเงินสินเชื่อ 462.23 ล้านบาท - ส่งเสริมด้านการตลาดผู้ประกอบการ จ� ำนวน 13 ราย - สนับสนุนการพัฒนาสินค้าและบริการ จ� ำนวน 5 ราย (3)ธนาคารออมสิน - อนุมัติสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ จ� ำนวน 2,781 ราย วงเงินสินเชื่อ 634.63 ล้านบาท - ส่งเสริมด้านการตลาดผู้ประกอบการ จ� ำนวน 229 ราย - สนับสนุนการพัฒนาสินค้าและบริการ จ� ำนวน 229 ราย (4)ธนาคารเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย - อนุมัติสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ จ� ำนวน 28 ราย วงเงินสินเชื่อ 215.20 ล้านบาท - ส่งเสริมด้านการตลาดผู้ประกอบการ จ� ำนวน 135 ราย - สนับสนุนการพัฒนาสินค้าและบริการ จ� ำนวน 1 ราย (5)ธนาคารอาคารสงเคราะห์ - อนุมัติสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ จ� ำนวน 1 ราย วงเงินสินเชื่อ 5.80 ล้านบาท โดยรวมแล้ว ได้ส่งเสริมผู้ประกอบการให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน จ� ำนวน 3,975 ราย วงเงินสินเชื่อ 1,351.25 ล้านบาท ส่งเสริมด้านการตลาดผู้ประกอบการ จ� ำนวน 377 ราย และสนับสนุนการพัฒนาสินค้าและบริการ จ� ำนวน 235 ราย 1.2 การส่งเสริมเกษตรเขตเมืองอัจฉริยะ (Urban Agriculture) ที่มา/ความส� ำคัญ ภาคเกษตรมีบทบาทส� ำคัญในการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและสร้างรายได้ต่อระบบเศรษฐกิจ ของประเทศ รวมทั้งเป็นแหล่งรองรับแรงงานที่ส� ำคัญ พื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่อยู่ในเขตชนบท มีการจัดการระบบ ชลประทาน พัฒนาอาชีพเกษตรด้านองค์ความรู้และจัดการตลาดจากหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ในเขตเมืองปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก (Climate Change) ส่งผลกระทบการผลิตเกษตรในระยะยาว ประกอบกับการเผชิญ วิกฤตจากโรคระบาดติดต่อที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความต้องการพื้นที่เพื่อท� ำการเกษตรเพิ่มขึ้น และสร้างความมั่นคง ด้านอาหารในเขตเมือง ซึ่งมีพื้นที่รกร้างว่างเปล่ากระจายอยู่ในเมืองเป็นจ� ำนวนมาก บางพื้นที่มีการปรับเปลี่ยนมาท� ำการเกษตร แบบขาดการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน เพื่อลดภาระภาษีที่ดินที่รกร้างว่างเปล่า ท� ำให้ขาดประสิทธิภาพในการใช้ ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน ด้านเศรษฐกิจดี

RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy