รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ จังหวัดนนทบุรี
“จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” “จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี 38 39 เชิงคุณภาพ จากการด� ำเนินการตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ท� ำให้เกิดความตระหนัก รู้ของประชาชน เจ้าของหรือผู้ประกอบการ ในการเฝ้าระวังกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดมลพิษจากฝุ่นละออง รวมถึงการบูรณาการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกัน ก� ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบแหล่งก� ำเนิดมลพิษ ซึ่งน� ำไปสู่คุณภาพอากาศและสุขภาพ ของประชาชนที่ดีขึ้น 4. การลดปริมาณมลพิษ การส่งเสริมให้เกิดการลดปริมาณมลพิษทางน�้ ำที่ปล่อยออกสู่สาธารณะ ที่มา/ความส� ำคัญ จังหวัดนนทบุรีเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลที่มีแม่น�้ ำเจ้าพระยาไหลผ่าน แบ่งพื้นที่ของจังหวัดออกเป็น 2 ส่วนคือ ฝั่งตะวันออก และฝั่งตะวันตก มีคูคลองเชื่อมโยงสัญจรติดต่อกัน และเชื่อมต่อกับแม่น�้ ำเจ้าพระยาโดยตรงหลายสายคลอง ซึ่งนับวันยิ่งมีคุณภาพน�้ ำเสื่อมโทรมลงเป็นอย่างมาก จากสาเหตุน�้ ำทิ้งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพน�้ ำที่ก� ำหนด และ จากการทิ้งขยะมูลฝอยชุมชนลงในแหล่งน�้ ำคูคลองโดยตรง ขยะประเภทที่สามารถย่อยสลายได้หรือขยะอินทรีย์ เมื่อปะปน อยู่ในแหล่งน�้ ำแล้ว จะกลายเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการย่อยสลายทั้งแบบใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจน ก่อให้เกิด ก๊าซเรือนกระจกที่ส� ำคัญต่างๆ อาทิ ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไข่เน่าหรือไฮโดรเจนซัลไฟล์ (H2S) เป็นต้น ก๊าซพิษและขยะ เหล่านี้ไม่เพียงส่งกลิ่นรบกวน เกิดมลทัศน์ต่อผู้พบเห็น รวมถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งคูคลองโดยตรงแล้ว ยังเป็นสาเหตุ ท� ำให้เกิดสภาวะโลกร้อน และส่งผลกระทบทางลบ เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและสาธารณสุขอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย การจะฟื้นฟู คุณภาพน�้ ำในแม่น�้ ำเจ้าพระยาได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จ� ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาคุณภาพน�้ ำในล� ำคลองเชื่อมต่อสายต่างๆ ให้มีคุณภาพที่ดีก่อนระบายลงสู่แม่น�้ ำเจ้าพระยา การรณรงค์ส่งเสริม และการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการอนุรักษ์ ป้องกัน ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ไม่ทิ้งขยะมูลฝอยลงในแหล่งน�้ ำโดยตรง ตลอดจนการให้ความรู้ประชาชนในการ ลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชน เปลี่ยนขยะที่ยังมีศักยภาพกลับมาเป็นรายได้ เปลี่ยนขยะอินทรีย์เป็นน�้ ำหมักชีวภาพ สามารถ น� ำกลับมาใช้ปรับปรุงคุณภาพน�้ ำในคูคลองได้อีกทางหนึ่ง การด� ำเนินการ 1) สนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมสร้างจิตส� ำนึกและให้ความรู้ด้านการลดปริมาณมลพิษจากน�้ ำเสียชุมชน โดยการให้ความรู้แก่ภาคประชาชนเกี่ยวกับการลดปริมาณมลพิษ 2) ส� ำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 6 ร่วมกับ ส� ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด นนทบุรี ส� ำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขานนทบุรี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด� ำเนินกิจกรรม การด� ำเนินงานโครงการของขวัญปีใหม่ คืนน�้ ำใสให้ประชาชน บริเวณคลองบางสีทอง และคลองบางกร่าง เพื่อสร้างความ ตระหนักในการดูแลรักษาความสะอาดคูคลอง ไม่ทิ้งขยะและของเสียลงสู่แหล่งน�้ ำ โดยการสร้างความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ และเครือข่ายภาคประชาชน ร่วมเก็บขยะในคลอง และใช้จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพเพื่อปรับคุณภาพแหล่งน�้ ำ 3) ส� ำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 6 ร่วมกับกรมควบคุมมลพิษ กรมราชทัณฑ์ เทศบาลนครนนทบุรี หน่วยงานราชการ และประชาชนในพื้นที่ ร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาฟื้นฟูคลองบางแพรก ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมท� ำความ สะอาดถนนและเก็บขยะในคลองบางแพรก ผลการด� ำเนินการ เชิงปริมาณ สนับสนุนการเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ในหัวข้อที่เกี่ยวกับการลดปริมาณมลพิษทางน�้ ำที่ปล่อย ออกสู่สาธารณะ จ� ำนวน 6 ครั้ง และมีโครงการ/กิจกรรม/การรณรงค์ ในเรื่องการดูแลรักษาคูคลองและแม่น�้ ำเจ้าพระยา เพื่อฟื้นฟูคุณภาพน�้ ำและลดผลกระทบต่อประชาชน จ� ำนวน 2 โครงการ เชิงคุณภาพ เกิดกระบวนการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ในการดูแลรักษาแหล่งน�้ ำ ธรรมชาติ ฟื้นฟูคุณภาพน�้ ำและทัศนียภาพ สร้างความตระหนักต่อผลกระทบจากมลพิษทางน�้ ำ เพื่อน� ำไปสู่การเฝ้าระวัง และป้องกันกิจกรรมที่ก่อให้เกิดน�้ ำเสีย และส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ ประชาชนมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อมได้ดียิ่งขึ้น
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy