รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ จังหวัดนนทบุรี
“จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” “จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี 32 33 ปฏิบัติการออกตรวจตู้ขาว รับแจ้งเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ แจ้งเบาะแสยาเสพติด ในปี 2567 จังหวัดนนทบุรี ได้ขับเคลื่อนแนวทางการปฏิบัติราชการ “นนทบุรี 6 ดี สู่เมืองน่าอยู่” ในด้านสิ่งแวดล้อมดี ที่มีความส� ำคัญ ดังนี้ 1. การแก้ไขน�้ ำเสียชุมชน การส่งเสริมติดตั้งถังดักไขมันในแหล่งก� ำเนิดน�้ ำเสีย ที่มา/ความส� ำคัญ จังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดปริมณฑลที่มีพื้นที่อยู่ติดกับกรุงเทพมหานคร มีผลท� ำให้มีจ� ำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น อย่างรวดเร็ว จากการเพิ่มขึ้นของประชากรทั้งในจังหวัดและรองรับประชากรจากกรุงเทพมหานคร จึงท� ำให้พื้นที่เมืองเกิดความ หนาแน่น และมีการขยายตัวไปในพื้นที่โดยรอบพื้นที่เมือง ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากเดิมที่เคย เป็นพื้นที่เกษตรกรรมและชนบทอย่างรวดเร็วซึ่งความเจริญเติบโตของเมืองอย่างต่อเนื่องนี้ส่งผลให้จังหวัดนนทบุรีประสบปัญหา มลพิษด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจังหวัดนนทบุรีได้ให้ความส� ำคัญกับการจัดการน�้ ำเสียชุมชน ซึ่งเป็นน�้ ำเสียที่เกิดจากกิจกรรม ประจ� ำวันของประชาชนที่อาศัยอยู่ในชุมชน และกิจกรรมที่เป็นอาชีพ ได้แก่ น�้ ำเสียที่เกิดจากการประกอบอาหารและชําระล้าง สิ่งสกปรกทั้งหลายภายในครัวเรือน และอาคารประเภทต่าง ๆ เนื่องจากเป็นแหล่งก� ำเนิดน�้ ำเสียที่มีปริมาณมากที่สุดของจังหวัด ที่มีการปล่อยน�้ ำทิ้งระบายลงสู่แม่น�้ ำเจ้าพระยาและคลองสาขา ทั้งที่ผ่านการบําบัดน�้ ำเสียและไม่ผ่านการบําบัดน�้ ำเสีย รวมถึงใน ปัจจุบันจังหวัดนนทบุรียังมีระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียรวมของชุมชนแค่บางส่วน ไม่ครอบคลุมทั้งพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัด การด� ำเนินการ 1) การตรวจสอบคุณภาพน�้ ำ จากจุดตรวจวัด 2 สถานี ได้แก่ แม่น�้ ำเจ้าพระยาช่วงที่ 1 (CH12 : สะพานพระรามหก ต� ำบลสวนใหญ่ อ� ำเภอเมืองนนทบุรี) และแม่น�้ ำเจ้าพระยาช่วงที่ 2 (CH15 : สะพานนนทบุรี ต� ำบลบ้านใหม่ อ� ำเภอปากเกร็ด) พบว่าคุณภาพน�้ ำไม่เป็นไปตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องก� ำหนดประเภทของแหล่งน�้ ำในแม่น�้ ำเจ้าพระยา รวมถึงมีผล การประเมินดัชนีคุณภาพน�้ ำผิวดิน (WQI) อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก และคุณภาพน�้ ำมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง อย่างต่อเนื่อง จึงได้ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีการติดตั้งถังดักไขมันหรือบ่อดักไขมันในครัวเรือนหรืออาคารแหล่งก� ำเนิดน�้ ำเสียอื่น ๆ เพื่อแยกไขมันที่เกิดจากกิจกรรมในห้องครัว/ห้องอาหารไม่ให้ไหลปนไปกับน�้ ำทิ้ง ช่วยรักษาสภาพน�้ ำในขั้นต้น ก่อนปล่อยลง สู่แหล่งน�้ ำธรรมชาติหรือท่อระบายน�้ ำทิ้ง ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ และสามารถก� ำจัดไขมันได้ประมาณ ร้อยละ 60 หากมีการดูแลที่ดี 2) การอบรมตามโครงการส่งเสริมการติดตั้งถังดักไขมันในครัวเรือน ประจ� ำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 โดยมีเป้าหมาย ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นประชาชนในพื้นที่อ� ำเภอบางกรวย และอ� ำเภอเมืองนนทบุรี จ� ำนวน 2 รุ่น (รุ่นละ 1 วัน จ� ำนวน 130 คน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความส� ำคัญในการบ� ำบัดน�้ ำเสียเบื้องต้นด้วยถังดักไขมัน และลดปริมาณ ความสกปรกของน�้ ำก่อนระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม ด้านสิ่งแวดล้อมดี
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy