รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ จังหวัดนนทบุรี
“จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” “จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี 22 23 2.3การแก้ไขปัญหาการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียนสตรีนนทบุรี สภาพปัญหา บริเวณหน้าโรงเรียนสตรีนนทบุรี มีลักษณะทางกายภาพเป็นทางโค้งก่อนถึงสามแยก ซึ่งเป็นจุดกลับรถ ท� ำให้ประชาชน ผู้ใช้เส้นทางสัญจรที่ออกจากทางแยกไม่สามารถมองเห็นอุปสรรคเนื่องด้วยทางโค้ง ประกอบกับอยู่ในเขตโรงเรียนและเขตชุมชน ที่มีการจราจรหนาแน่นจึงเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง การด� ำเนินการ จังหวัดนนทบุรี โดยแขวงทางหลวงนนทบุรี ได้ด� ำเนินการส� ำรวจ และประชุมหารือเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยด� ำเนิน การติดตั้งอุปกรณ์อ� ำนวยความปลอดภัยต่าง ๆ ได้แก่ ป้ายเตือนโรงเรียน ราวกันอันตราย สัญญาณไฟกระพริบ ป้ายจ� ำกัดความเร็ว และหลักล้มลุก เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและลดการตัดกระแสจราจร ผลการด� ำเนินการ ประชาชนมีความปลอดภัยในการสัญจรบริเวณดังกล่าวมากขึ้น ลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ อันจะท� ำให้เกิด การสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนผู้ใช้เส้นทางดังกล่าวในการสัญจร 3. การเชื่อมต่อการเดินทาง “ล้อ ราง เรือ” ที่มา/ความส� ำคัญ จังหวัดนนทบุรีมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการขนส่งสาธารณะ ระบบขนส่งมวลชน และระบบสาธารณูปโภค เพื่อรองรับการเติบโตของจังหวัดโดยมุ่งหวังให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีเป้าหมายในการพัฒนามุ่งเน้นให้จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City) ดังนั้น เพื่อให้เส้นทางรถโดยสารประจ� ำทางมีเส้นทางครอบคลุมพื้นที่จังหวัดนนทบุรี เชื่อมต่อ การเดินทางระหว่างรถโดยสารประจ� ำทาง กับสถานีรถไฟฟ้าและท่าเรือ รวมถึงแหล่งสถานที่ส� ำคัญ และแหล่งท่องเที่ยว ภายในจังหวัด เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้ใช้บริการใน จังหวัดนนทบุรี อีกทั้งสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนใช้บริการขนส่งสาธารณะเพิ่มขึ้น ท� ำให้ประชาชนในจังหวัดนนทบุรี มีคุณภาพชีวิตจากการใช้บริการระบบการขนส่งด้วยรถโดยสารสาธารณะที่มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น การด� ำเนินการ ก� ำหนดเส้นทางรถโดยสารประจ� ำทางเพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบริเวณจุดเชื่อมต่อการเดินทางสะพานพระนั่งเกล้า โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) สนับสนุนให้ประชาชนใช้บริการขนส่งสาธารณะเพิ่มขึ้น 2) พัฒนาเครือข่ายโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจ ขยายบริการสาธารณะ 3) ระบบการขนส่งสาธารณะมีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน 4) ส่งเสริมให้ผู้ที่เดินทางจากจังหวัดนนทบุรีไปยังกรุงเทพมหานคร ให้ใช้รถโดยสารสาธารณะ หรือรถไฟฟ้า และเรือโดยสาร แทนการใช้รถส่วนบุคคล ผลการด� ำเนินการ ปัจจุบันมีเส้นทางรถโดยสารประจ� ำทางเพื่อเชื่อมต่อการเดินทางบริเวณสถานีรถไฟฟ้าสะพานพระนั่งเกล้าในการ เชื่อมต่อการเดินทาง ล้อ ราง เรือ แล้วทั้งสิ้น จ� ำนวน 9 เส้นทาง ได้แก่ 1) เส้นทางหมวด 1 จังหวัดนนทบุรี สายที่ 1 วงกลม นนทบุรี - สนามบินน�้ ำ 2) เส้นทางหมวด 4 จังหวัดนนทบุรี สายที่ 1024 วงกลมบางบัวทอง - สะพานพระราม 5 - บางใหญ่ซิตี้ 3) สายที่ 1053 สะพานพระราม 5 - โรงพยาบาลปากเกร็ด 2 4) เส้นทางหมวด 1 กรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเส้นทาง ต่อเนื่อง 5) สายที่ 18 (2-3) ตลาดท่าอิฐ - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 6) สายที่ 63 สถานีรถไฟฟ้าสะพานพระนั่งเกล้า - อนุสาวรีย์ชัย สมรภูมิ 7) สายที่ 69 (2-13) ท่าอิฐ - ม.รามค� ำแหง 8) สายที่ 134 (2-20) หมู่บ้านบัวทองเคหะ - หมอชิต 2 และ 9) สายที่ 191 (2-51) อู่โพธิ์แก้ว - กระทรวงพาณิชย์ สายที่ 203 (2-23) บัวทองเคหะ – สนามหลวง อีกทั้งคณะกรรมการควบคุมการ ขนส่งทางบกประจ� ำจังหวัดนนทบุรี ได้มีมติให้ก� ำหนดเส้นทางรถโดยสารประจ� ำทาง Feeder เพื่อเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้า และท่าเรือสะพานพระนั่งเกล้า เส้นทางหมวด 1 จังหวัดนนทบุรีสถานีรถไฟฟ้าสะพานพระนั่งเกล้า -กระทรวงพาณิชย์ - ถนนเลี่ยงเมือง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy