รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๗ จังหวัดนนทบุรี
“จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” “จังหวัดนนทบุรี เป็นเมืองน่าอยู่ (Livable City)” รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี รายงานผลการดำ �เนินงานประจำ �ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดนนทบุรี 12 13 2. การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนนทบุรี ที่มา/ความส� ำคัญ จังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดที่มีลักษณะทางกายภาพที่เป็นสังคมเมืองสูง ซึ่งในส่วนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP จังหวัดนนทบุรี มีความหลากหลาย ทั้งในลักษณะของผลิตภัณฑ์และลักษณะศักยภาพของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ส่วนการพัฒนาและการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดนนทบุรี ต้องพัฒนาโดยแบ่งกลุ่มจ� ำแนกตามศักยภาพ การด� ำเนินการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนนทบุรี โดยส� ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนนทบุรี ได้ด� ำเนินโครงการฯ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัด ดังนี้ (1)การพัฒนาศักยภาพของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการสู่ยุค 4.0 ส� ำหรับพัฒนาศักยภาพผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ให้มีความสามารถและมีทักษะในการน� ำสินค้าจ� ำหน่ายในตลาดออนไลน์ และเพื่อเพิ่มช่องทางการจ� ำหน่ายสินค้า OTOP ผ่านระบบออนไลน์ให้แก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP มีธรรมาภิบาล (2)การพัฒนาและส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP (2.1) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP กลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (Quadrant D) ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาอาชีพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการสร้างงาน สร้างรายได้ โดยเน้นในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ รูปแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ให้มีความสามารถ ในการแข่งขันทั้งตลาดภายในและต่างประเทศได้ (2.2) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP โดยเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge – Based OTOP : KBO) จังหวัดส่งเสริมให้คณะกรรมการเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัด เป็นศูนย์กลางในการ ให้ความช่วยเหลือ และสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ในการยกระดับการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เพื่อพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน มีมูลค่าเพิ่ม สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการด� ำเนินงานของเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัด ผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ผ่านกระบวนการพัฒนาแล้ว มีโอกาสน� ำเสนอออกสู่ตลาดซึ่งเป็นการเปิดช่องทางการตลาดให้กับ ผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น (2.3) โครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต� ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product Champion) เป็นกิจกรรม หนึ่งของการด� ำเนินงานโครงการหนึ่งต� ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อจัดระดับผลิตภัณฑ์ที่จะน� ำไปสู่การพัฒนา เพื่อเป็น การส่งเสริมสนับสนุนให้ผลิตภัณฑ์OTOP ได้มีโอกาสพัฒนาให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับแก่บุคคลทั่วไป จนสามารถ ใช้เป็นแหล่งสร้างรายได้และความเข้มแข็งให้กับชุมชน อีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และชุมชน ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐานในระดับสากล (3)การพัฒนาและส่งเสริมด้านการตลาด OTOP โครงการหนึ่งต� ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ โดยกรมการพัฒนาชุมชนมีการด� ำเนินการส่งเสริมเรื่องการตลาดให้ กับผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ตลอดทั้งปีงบประมาณ ซึ่งจังหวัดนนทบุรีจะเป็นผู้คัดเลือกผู้ประกอบการ เพื่อเข้าร่วม กิจกรรมที่สนับสนุนและส่งเสริมการตลาดต่าง ๆ ที่กรมการพัฒนาชุมชนจัดขึ้น โดยการส่งเสริมด้านการตลาดจะจ� ำแนกเป็น ประเภทดาวที่เข้าร่วมโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต� ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย อาทิ (3.1) ประเภท 3 - 5 ดาว - งาน OTOP Midyear - งานศิลปาชีพประทีปไทย OTOP หลอมดวงใจ ด้วยพระบารมี - งาน OTOP City - งาน OTOP to the Town (3.2) ประเภท 1 - 2 ดาว สนับสนุนให้เข้าร่วมงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่จังหวัดด� ำเนินการร่วมกับภาคีเครือข่ายภายในจังหวัด โดยการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการออกบูทจ� ำหน่ายสินค้าในห้างสรรพสินค้าในจังหวัดนนทบุรี นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมการตลาดผ่านระบบOnline เพื่อส่งเสริมให้ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP จังหวัดนนทบุรี มีช่องทางการจ� ำหน่ายสินค้าบน Platform Online อาทิ Tiktok shop , shopee , Facebook Page เป็นต้น ผลการด� ำเนินการ จากการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนนทบุรี ตลอดทั้งปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ที่ผ่านมา ท� ำให้จังหวัด นนทบุรีมียอดรายได้จากการจ� ำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนหนึ่งต� ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) มากกว่า 2,993,342,957 บาท 3. การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์ “วิถีน�้ ำ วิถีนนท์” จังหวัดนนทบุรี โดยส� ำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนนทบุรี ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์ “วิถีน�้ ำ วิถีนนท์” โดยการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวต่าง ๆ ดังนี้ (1)การจัดงาน “เสน่ห์ใกล้กรุง” โครงการเสน่ห์ใกล้กรุง กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์ ที่มุ่งเน้นการสร้างสรรค์และเชื่อมโยง วัฒนธรรมกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑล โดยมีการจัดงานระหว่างวันที่ 10 - 14 กรกฎาคม 2567 ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เวสต์เกต จากการจัดงานดังกล่าว มีจ� ำนวนผู้เข้าชมงานรวมทั้งสิน 30,134 คน และก่อให้เกิดการกระจายรายได้ให้กับการ ท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑลกว่า 7,052,798 บาท นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้าง ประสบการณ์การท่องเที่ยวทางน�้ ำ (คลองพระพิมล) โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือกลุ่มมัคคุเทศก์ และกลุ่มเยาวชนผู้น� ำเที่ยว ท้องถิ่น (เจ้าบ้านน้อย) ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จ� ำนวน 100 คน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTQ0NjMy